วันจันทร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2556

* ลิงค์ต่างๆอยู่ทางด้านขวามือ  คลิกขวาได้เลยค่ะ *

วันอังคารที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


งานวิจัยเรื่อง: การ ศึกษาความสามารถในการวาดรูปทรงและการจำตัวเลขของเด็กปฐมวัยที่อยู่ในภาวะ เสี่ยงต่อการมีปัญหาทางการเรียนรู้โดยใช้ชุดการสอน เรื่อง การวาดรูปทรงและการจำตัวเลข


สรุปวิจัย มุ่งศึกษาถึงผลการใช้ชุดการสอนเรื่องการวาดรูปทรงและการจำตัวเลขที่มีต่อความ สามารถในการวาดรูปทรงและการจำตัวเลขของเด็กปฐมวัยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการ มีปัญหาทางการเรียนรู้ซึ่งจะเป็นแนวทางให้ครูและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการ ศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการมีปัญหาทางการเรียนรู้ในการ นำวิธีการที่เหมาะสมไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะกับนักเรียนเพื่อ พัฒนาทักษะการเขียนและการฟังต่อไปและชุดการสอนเรื่องการวาดรูปทรงและการจำ ตัวเลข เป็นชุดการสอนที่มีสื่อการสอนที่น่าสนใจใช้ง่าย สะดวก ไม่เสียเวลามากและเด็กได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้โดยทั่วไปมีปัญหาในการใช้ภาษาทั้งในการฟัง การอ่านการเขียนและการสะกดคำหรือปัญหาทางด้านการเรียนคณิตศาสตร์ เด็กปฐมวัยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อปัญหาทางการเรียนรู้เราจะพบว่าในเด็กกลุ่ม นี้จะเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการมีปัญหาทางการเรียนรู้โดยจะมีปัญหาทางด้านการ อ่าน การฟัง การคิด การพูด การเขียนและคณิตศาสตร์
การประเมิน : การประเมินผลพัฒนาการของเด็กทางสติปัญญา ทัศนคติ การับรู้ การเคลื่อนไหวและ

 พัฒนาการ ฯลฯ การวัดผลและประเมินผลทางจิตใจ ดังนี้
- พัฒนาการทางสติปัญญา
- พัฒนาการทางการเคลื่อนไหว
- พัฒนาการทางด้านภาษา
- พัฒนาการทางด้านคุณลักษณะเฉพาะตัวและสังคม

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่  15
วันที่ 12 กุมภาพันธ์  2556  บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 15
-  อาจารย์ให้สอบสอนต่อ
   หน่วยกล้วย และ หน่วยข้าวโพด


บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่  14
วันอังคาร  ที่ กุมภาพันธ์ 2556  
-  สอบสอน  หน่วยมะนาว
วันที่ ลักษณะของมะนาว
รูปร่าง , ขนาด , สี
        รูปทรงและพื้นที่  รูปร่างของมะนาว
        การนับ                  นับจำนวนมะนาวที่อยู่ในตะกร้า
        การวัด                    การวัดของผลมะนาว
        การเปรียบเทียบ   เปรียบเทียบรูปร่าง  ของนาด  สี  ของผลมะนาว
        จัดลำดับ                จัดลำดับ  เล็ก  กลาง  ใหญ่
วันที่ 2  ลักษณะของมะนาว
รสชาติ , กลิ่น , พื้นผิว
        การนับ                   นับจำนวนมะนาวที่อยู่ในตะกร้า
        การเปรียบเทียบ    เปรียบเทียบพื้นผิว
        จัดลำดับ                 จัดลำดับความหยาบเรียบเกลี้ยงของผิวมะนาว
วันที่ ส่วนประกอบ , สายพันธุ์                  
เซต                         ส่วนประกอบของมะนาว
        การจัดประเภท      : จัดประเภทสายพันธุ์

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่  13
วันอังคาร  ที่  29 มกราคม 2556  
วางแผนการจัดกิจกรรมการแสดง
คิดการแสดง
แบ่งหน้าที่
จัดลำดับเหตุการณ์




บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่  12
วันอังคาร  ที่ 22 มกราคม 2556    
ส่งสื่อคณิตศาสตร์  (กราฟ)
สื่อทางคณิตศาสตร์ก็ควรจะเป็นสื่อที่เด็กสามมารถหยิบจับหรือลองเล่นได้
  เด็กจะเกิดความเข้าใจก็ต่อเมื่อได้ลงมือปฏิบัติ
เลขฐานสิบ เป็นเลขที่สำคัญ
ใช้นิทานในการสอนเนื้อหา เพราะนิทานจะทำให้เด็กเกิดความเข้าใจได้ง่าย และมีความน่าสนใจ



บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่  11
วันอังคาร  ที่  15  มกราคม  2556  
-  อาจารย์ให้ส่งฝาขวดน้ำ


มาตรฐานที่  การนับและการดำเนินการ
นับจำนวนทั้งหมด  (การนับ,เศษส่วน)
การแทนค่าด้วยตัวเลข
มาตรฐานที่  2  การวัด
ต้องมีเครื่องมือในการวัด  หลังจากวัดจะได้ค่าหรือปริมาณ และหน่วยในการวัด และแทนค่าด้วยตัวเลข  เช่น วัดระยะห่างและแทนค่าด้วยตัวเลข ใช้หน่วยของระยะทางเป็นจำนวนฝา
นำระยะห่างของฝามาเปรียบเทียบ และสรุปเป็นกราฟ
มาตรฐานที่ 3  เลขาคณิต
ทำกระดาษเป็นรูปทรงต่างๆ และนำมาติดกับฝา
ตำแหน่งและทิศทาง  เหนือ ใต้ ตะวันออก ตะวันตก / ระหว่าง / ตรงกลาง / ใกล้,ไกล 
มาตรฐานที่ พีชคณิต
แบบรูป  แพทเทิล (การทำตามแบบ)  เช่น ตัวเลข ตำแหน่งของการเขียนตัวเลข เครื่องหมาย การเรียงตามความสัมพันธ์ (เหมือนกับเหมือน)
มาตรฐานที่ วิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
เช่น  - วิเคราะห์ข้อมูลระยะทางทั้ง ทาง
        - การสอนเรื่องขนมไทย เด็กๆชอบขนมอะไร หาความสัมพันธ์ด้วยกราฟ
        - การเชคจำนวนเด็กนักเรียนที่มาเรียนและขาดเรียน  (นำข้อมูลมาจากบอร์ดเชคชื่อ)
 บูรณาการคณิตศาสตร์ผ่านการเชคจำนวนเด็ก ได้เรียนรู้เรื่อง
- ตัวเลข
- การนับ
- การกระจายตัวเลข
- การบวก ลบ (เพิ่มขึ้น,ลดลง)
- การหาค่าจำนวนใดๆ สามารถหาได้หลากหลายวิธี



บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 10
วันอังคาร  ที่  8  มกราคม 2556    
ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากมีกิจกรรมคณะศึกษาศาสตร์ร่วมกันถวายพระพร 5 ธันวามหาราช และเต้นแอโรบิคถวายในหลวง *




บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 9
วันอังคาร ที่ มกราคม 2556    
*  ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากเป็นวันหยุด  *


  บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 7
วันอังคาร  ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2555  
*งดการเรียนการสอน เนื่องจากมีกิจกรรม การแข่งขันกีฬาบุคลากร
        อาจารย์ให้นักศึกษาทำงานที่มอบหมายในสัปดาห์ที่แล้ว*



บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 6
วันอังคาร  ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2555  
ส่งแผนการสอน
อาจารย์แจกกล่องให้คนละ กล่อง อาจารย์ใช้คำถาม แบบ
  1. เมื่อเห็นกล่องแล้วนึกถึงอะไร
  2. เมื่อเห็นกล่องแล้ว อยากให้กล่องเป็นอะไร
อาจารย์ถามว่า กล่องนำมาใช้ในคณิตศาสตร์ได้อย่างไร

อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน เป็น กลุ่ม
 1. นำกล่องของแต่ละคนในกลุ่มมารวมกัน และช่วยกันคิดว่าจะต่อเป็นอะไร



ต่อเป็นช้าง
2. นำสิ่งที่ต่อเสร็จแล้วของแต่ละกลุ่ม นำมารวมกันและต่อเป็นเรื่องราว
และให้บอกว่า ได้คณิตศาสตร์  เรื่องอะไรบ้าง จากการต่อกล่อง


  สวนสัตว์
(สิ่งที่ได้จากการต่อกล่อง เป็นสวนสัตว์)
-  ได้เรื่องทิศทาง ซ้าย ขวา หน้า หลัง ระหว่าง กึ่งกลาง
-  ได้เรื่องรูปร่างรูปทรง เชื่อมโยงความเป็นจริง ให้มีความเหมือนหรือความคล้าย
-  ได้เรื่องเซต  ในแต่ละตัวละครที่นำกล่องมาต่อ จะต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง
งานที่ได้รับมอบหมาย
-  ให้ทุกคนหาฝาขวดน้ำสีขาวจำนวน ฝา
-  ตัดกระดาษโปสเตอร์สีส้ม สีเหลือง และสีชมพู   ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1นิ้ว 1.5นิ้ว และ 2นิ้ว


  บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 5
วันอังคาร ที่ ธันวาคม พ.ศ. 2555  
อาจารย์ให้นำเสนองาน วางแผนการสอน ของแต่ละกลุ่ม

งานที่ได้รับมอบหมาย
-  เขียนแผนการสอนคนละ1วัน


นางสาวณัฐญา   สาวะดี


บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 4
วันอังคาร  ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555    
-  อาจารย์ให้นำเสนอผลงาน หน่วยมะนาว
งานที่ได้รับมอบหมาย
ให้แก้ไข mymaping ให้สมบูรณ์
แบ่งสมาชิกในกลุ่มให้รับผิดชอบคนละ1วัน
ให้แต่ละคนเขียนสิ่งที่จะสอนในแต่ละวันและบอกว่าในแต่ละหัวข้อใช้เนื้อหาทางคณิตศาสตร์อะไรบ้าง


 บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่  3
วันอังคาร ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555    
-นำเสนอ my map ของแต่ละกลุ่ม

เนื้อหาหรือทักษะ
1. การนับ
เป็นคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับตัวเลขอันดับแรกที่เด็กรู้จัก เป็นการนับอย่างมีความหมาย
2. ตัวเลข
เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้ในชีวิตประจำวัน  ให้เด็กนับและคิดเอง
3. การจับคู่
เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการจับคู่ จำนวน/จำนวน  จำนวน/ตัวเลข
4. จัดประเภท
เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตสิ่งต่างๆ และจัดประเภทได้
5. การเปรียบเทียบ
เด็กจะต้องมีการสืบเสาะและอาศัยความสำพันธ์ระหว่างของสองสิ่งหรือมากกว่า
6. การจัดลำดับ
เป็นการจัดสิ่งของเป็นชุดๆ เรียงตามลำดับ หนัก-เบา / เบา-หนัก
7. รูปทรงและเนื้อที่
สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม ความกว้าง ความหนา ความลึก
8. การวัด
การหาค่า เพื่อให้รู้ขนาดโดยการใช้เครื่องมือต่างๆในการวัดหาค่าความยาว ความกว้าง การหาค่าน้ำหนัก (ชั่งน้ำหนัก) หาค่าโดยการวัด การชั่ง การตวง
9. เซต
จัดหมวดหมู่สื่งที่มีความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน เช่น จัดหมวดหมู่อุปกรณ์ในการรับประทานอาหาร
10. เศษส่วน
การแบ่งสัดส่วน เช่นการแบ่งขนม แบ่งไป1ชิ้น เหลือ3ชิ้น มีขนมทั้งหมด4ชิ้น เหลือ3ใน4
11. ทำตามแบบหรือลวดลาย
เป็นแบบข้อตกลงร่วมกัน  คณิตศาสตร์มีระบบมีวิธีการ จึงต้องให้เด็กมีประสบการณ์ในการทำตามแบบ
12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ
เด็กจะตัดสินจากสิ่งที่ตาเห็น
เยาวพา  เดชะคุปต์ (2542 : 87 – 88) ได้เสนอการสอนคณิตศาสตร์แนวใหม่
1. การจัดกลุ่มหรือเซต สิ่งที่ควรสอนได้แก่ การจับคู่ 1:1  การจับคู่สิ่งของการรวมกลุ่ม กลุ่มที่เท่ากันและความเข้าใจเกี่ยวกับตัวเลข
2. จำนวน 1-10   การฝึกนับ 1-10  จำนวนคู่  จำนวนคี่
3. ระบบจำนวนและชื่อของตัวเลข    1 = หนึ่ง  2 = สอง
4. ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ เช่น  เซตรวมกับแยกเซต ฯลฯ
5. คุณสมบัติขิงคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม
6. ลำดับที่สำคัญและประโยคคณิตศาสตร์   ประโยคคณิตศาสตร์ที่แสดงถึง  จำนวน  ปริมาตร  คุณภาพต่างๆ  เช่น  มาก – น้อย
สูง – ต่ำ ฯลฯ
7. การวัด  การวัดสิ่งที่เป็นของเหลว  สิ่งของ  เงินตรา  รวมถึงมาตราส่วนและเครื่องมือในการวัด
8. รูปทรงเรขาคณิต  การเปรียบเทียบ  รูปร่าง  ขนาด  ระยะทาง เช่น รูปสิ่งของที่มีมิติต่างๆ จากการเล่นเกมและการศึกษาถึงสิ่งที่อยู่รอบตัว
9. สถิติและกราฟ  การศึกษาจากการบันทึก  ทำแผนภูมิ  การเปรียบเทียบต่าง



บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 2

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2555   
อาจารย์ให้วาดภาพอะไรก็ได้ใส่กระดาษแผ่นเล็ก (ภาพที่แทนตัวเรา) 
  อาจารย์กำหนดเกณฑ์ให้3เกณฑ์คือ  มาก่อนเที่ยง มาเที่ยงตรง และมาหลังเที่ยง
  ให้ทุกคนนำภาพของตนเองไปติดตามเวลาที่ตนเองมาเรียน
เด็กเกิดการเรียนรู้
  - เด็กเรียนรู้เรื่องของเวลา ก่อน-หลัง (ก่อนเที่ยง-เที่ยงตรง-หลังเที่ยง)
  - เด็กเรียนรู้เรื่องของการจัดหมวดหมู่  (ครูจะต้องกำหนดเกณฑ์)
  - เด็กเรียนรู้เรื่องของการนับ (นับจำนวนของคนที่มาในแต่ละวิชา)
  - เด็กเรียนรู้เรื่องของการเปรียบเทียบปริมาณ (เปรียบเทียบโดยการนำภาพมาเรียงแถวกันเป็นหมวดหมู่  เพื่อให้เห็นความ   แตกต่างอย่างชัดเจน)

ถ้าเด็กสามารถบอกได้ว่าตัวเลขแทนจำนวนเท่าไหร่ แสดงให้เห็นว่าเด็กสามารถให้เหตุผลได้
คณิตศาสตร์สามารถบูรณาการผ่านการใช้ชีวิตประจำวัน
คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน เกมการศึกษา
(เกมจับคู่ เกมเรียงลำดับ เกมจัดหมวดหมู่ เกมจิ๊กซอว์ เกมโดมิโน เกมความสัมพันธ์สองแกน)
คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
(กำหนดรูปทรงเรขาคณิตให้เด็กวาดภาพต่อเติมตามจินตนาการ)
คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมเสรี
(เตรียมวัสดุอุปกรณ์ไว้สำหรับให้เด็กได้วัดขนาด ชั่งน้ำหนัก หรือสังเกตการเปลี่ยนแปลง)
คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
(เปิดเพลงที่เนื้อหาเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์และให้เด็กทำท่าทางประกอบเพลง)
คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมเสริมประสบการณ์
คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมกลางแจ้ง
(ให้เด็กเล่นเกมในรูปแบบต่างๆ ครูมีการกำหนดเกณฑ์ในการเล่น เช่น ให้เด็กจับกลุ่มจำนวนตามที่ครูบอก เป็นต้น )

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 1 
วันอังคาร ที่ พฤศจิกายน 2555    
1. อาจารย์อาจารย์พูดเกี่ยวกับข้อตกลงในการเรียน
2. อาจารย์ให้แต่ละคนเขียน คนละ ประโยค เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
3. การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย เราจะต้องเรียนรู้เรื่องอะไรบ้าง
   - ความหมายของคณิตศาสตร์
   - หลักในการจัด
   - วิธีการจัด
   - เนื้อหาเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
   - การทำสื่อการสอนทางคณิตศาสตร์
   - วิธีการประเมินผล